วันอาทิตย์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

LES VOCABULAIRES (คำศัพท์)


คำศัพท์


bobo เจ็บ

ça à été ? เรียบร้อยดีไหม

l' hopital โรงพยาบาล

le médecin แพทย์หรือหมอ

les médicqment กินยา

se soigner ดูแล

l'exerice ออกกำลังกาย

réméchissez ไตร่ตรอง

réfléchis bien คิดพิจารณา

exposé บรรยาย

la solution ตำตอบ

réfléchis คิด

grave สาหัต

allongé นอนราบ

un pull-ovez เสื้อหนาว

allume เปิด

éteindre ปิด

allongez วันที่ยาว

longez เดินไปตาม....

prologer ต่อเวลา

du fruit น้ำผลไม้

d'orauge น้ำส้ม

d'dnanas น้ำสับประรด

du raisn องุ่น

de pomme แอปเปิ้ล




Antoine de Saint-Exupéry. Qui c'est?

Antoine de Saint-Exupéry

 อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี

           อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี (ฝรั่งเศส: Antoine de Saint-Exupéry) เป็นนักเขียนและนักบินชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1900มีงานเขียนเป็นจำนวนมากในภาษาฝรั่งเศส ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเจ้าชายน้อย อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรีหายสาบสูญขณะบินลาดตระเวนอยู่เหนือน่านฟ้าแอฟริกาเหนือเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1944
ในปี ค.ศ. 1998 ชาวประมงชื่อ ฌ็อง-โกลด บีย็องโก ชาวฝรั่งเศส ได้พบชิ้นส่วนที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นสร้อยข้อมือของแซ็งแตกซูว์เปรี ขณะจับปลาอยู่ทางตอนใต้ของเมืองมาร์แซย์ ในปี ค.ศ. 2000 นักประดาน้ำชื่อ ลุก ว็องแรล ได้พบซากของเครื่องบิน P-38 Lightning ซึ่งทางการฝรั่งเศสได้กู้ขึ้นมา และยืนยันว่าเป็นเครื่องบินลำที่แซ็งแตกซูว์เปรีเป็นนักบิน
ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2008 นักบินขับไล่ชาว เยอรมันชื่อ Horst Rippert วัย 88 ปี ได้ออกมายืนยันว่า เขาเป็นนักบินที่ทำการลาดตระเวนในบริเวณที่พบซากเครื่องของแซ็งแตกซูว์เปรี ในคืนวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 และเป็นผู้ยิงเครื่อง P-38 Lightning ตกในคืนนั้น เขากล่าวว่าเขาเป็นแฟนหนังสือของแซ็งแตกซูว์เปรี และทราบในภายหลังสงครามว่าอาจจะเป็นผู้ยิงเครื่องบินของแซ็งแตกซูว์เปรีตก
แผ่นดินของเรา
          แผ่นดินของเรา (ฝรั่งเศส: Terre des Hommes) เป็นวรรณกรรมฝรั่งเศสร่วมสมัยเขียนโดยอ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี นักเขียนชาวฝรั่งเศสผู้เขียนเรื่องเจ้าชายน้อย ใน แผ่นดินของเรา ผู้เขียนได้ให้ข้อคิดเกี่ยวกับปรัชญาชีวิต ผ่านทางเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้เขียนและเพื่อนร่วมงานประสบด้วยตนเอง ขณะปฏิบัติงานเป็นนักบินขนส่งไปรษณีย์ในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้ สำนักวรรณกรรมหลายสำนักทั่วโลกได้ยกให้แผ่นดินของเราเป็นผลงานที่ดีที่สุดของอังตวน เดอ แซง-เตกซูเปรี วรรณกรรมเรื่องแผ่นดินของเราฉบับภาษาฝรั่งเศสตีพิมพ์ครั้งแรกใน ค.ศ. 1939

ผลงาน

1929 - Courrier sud (ไปรษณีย์ใต้)

1931 - Vol de nuit (เที่ยวบินกลางคืน)

1939 - Terre des Hommes (แผ่นดินของเรา)

1942- Pilote de Guerre

1943 – Le Petit Prince (เจ้าชายน้อย)

1943 - Lettre à un Otage

1948 - Citadelle






สรุปใจความสำคัญ

      หรือที่ชาวฝรั่งเศสในปัจจุบันเรียกขานกันสั้นๆ เป็นที่รู้กันว่า แซงต์-เตก เกิดที่เมืองลียง ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี ค.ศ.1900 ณ บ้านเลขที่ 8 ถนน ดุ เปย์ราต์ ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นถนนอองตวน เดอ แซงต์-เตกซูเปรี นอกจากเป็นนักเขียนชื่อเลื่องระดับโลกแล้ว ยังเป็นกวีและนักบินอีกด้วย งานเขียนส่วนใหญ่เขาจะเป็นเรื่องราวที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากอาชีพการเป็นนักบิน เช่น Courrier sud (ไปรษณีย์ใต้), Vol de nuit (เที่ยวบินกลางคืน), Terre des Hommes (แผ่นดินของเรา) เป็นต้น
ส่วน Le Petit Prince (เจ้าชายน้อย) ที่สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติให้เขานั้น เป็นผลงานเชิงนิทานกึ่งปรัชญาที่สอดแทรกการวิพากย์วิจารณ์สังคมตลอดจนความประหลาดของโลกผู้ใหญ่       ว่ากันว่า
- อองตวน เดอ แซงต์-เตกซูเปรี มีความสนใจดินแดนห่างไกลและการผจญภัยมาตั้งแต่เด็กๆ เขาจึงพยายามออกจากกรอบของตระกูลชนชั้นขุนนางของตนด้วยการหันไปคลั่งใคล้ในเครื่องบิน คบหาเพื่อนฝูงแปลกๆ และพยายามในการนำสัตว์ป่ามาฝึกให้เชื่อง ไม่ว่าจะเป็นหมาจิ้งจอก กวาง กิ้งก้า ลูกแมวน้ำ สิงโตภูเขา ที่เขานำขึ้นเครื่องบินด้วยจนเกิดอุบัติเหตุจ้องเข้าโรงพยาบาลถึงสองครั้ง
- อองตวน เดอ แซงต์-เตกซูเปรี เป็นนักเรียนหัวปานกลาง สอบเข้าโรงเรียนนักบินนาวีไม่ติด ด้วยความเจ็บใจ เมื่อถึงวัยเกณฑ์ทหารเขาจึงเลือกเข้ารับการฝึกในหน่วยการบินแทน
- อองตวน เดอ แซงต์-เตกซูเปรี เป็นนักบินที่มักจะเหม่อใจลอย เลยได้รับสมญานามจากพวกช่างเครื่องว่า ?หมุดปักจันทรา?
- อองตวน เดอ แซงต์-เตกซูเปรี เป็นนักบินต่างชาติคนเดียวที่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นเครื่องบินขนาดยักษ์ของสหภาพโซเวียต รุ่น Tupolev ANT-20 (หรือที่เรียกกันว่า Maxim Gorky)
- อองตวน เดอ แซงต์-เตกซูเปรี เป็นนักประดิษฐ์ด้วย เขาจดทะเบียนลิขสิทธิ์ผลงานการคิดค้นเอาไว้นับสิบชิ้น และยังเป็นผู้พัฒนาทางแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หลายข้อ
- เจ้าชายน้อย ของ อองตวน เดอ แซงต์-เตกซูเปรี พลาดจากการสร้างเป็นภาพยนตร์โดยบริษัทวอลต์ ดิสนีย์ หลังจากวอลต์ ดิสนีย์ อ่านนิทานเรื่องนี้จบ และกล่าวว่าในบริษัทของเขาไม่มีที่ว่างพอสำหรับอัจฉริยะสองคน

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555



        Le Tour de France






ตูร์เดอฟรองซ์ (ฝรั่งเศส: Tour de France หมายถึง การท่องฝรั่งเศส) หรือบางครั้งเรียกว่า ลากรองด์บูกล์ (La Grande Boucle) และ เลอตูร์ (Le Tour) เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลรอบประเทศฝรั่งเศส ซึ่งจัดขึ้นเป็นเวลา 3 สัปดาห์ในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1903 จนถึงปัจจุบัน (เว้นการจัดแข่งขันในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสอง) (ฝรั่งเศส: Tour de France หมายถึง การท่องฝรั่งเศส) หรือบางครั้งเรียกว่า ลากรองด์บูกล์ (La Grande Boucle) และ เลอตูร์ (Le Tour) เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลรอบประเทศฝรั่งเศส ซึ่งจัดขึ้นเป็นเวลา 3 สัปดาห์ในช่วงเดือนกรกฎาคมของทุกปี เริ่มจัดขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1903 จนถึงปัจจุบัน (เว้นการจัดแข่งขันในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสอง)

ตูร์เดอฟรองซ์ เป็นการแข่งขันจักรยานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลหนึ่งในสามรายการใหญ่ ที่จัดการแข่งขันใน
ยุโรป รวมเรียกว่า แกรนด์ทัวร์ โดยอีกสองรายการคือ
การแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1903 เกิดขึ้นเนื่องจากการท้าทายกันทางหน้าหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสชื่อ โลโต้ (L'Auto) มีนักแข่งเข้าร่วมจำนวนถึง 60 คน แต่สามารถเข้าเส้นชัยได้เพียง 21 คน ซึ่งกิตติศัพท์ของความยากลำบากในการแข่งขัน ทำให้การแข่งขันนี้เป็นที่สนใจ และมีผู้ชมการแข่งขันช่วงสุดท้ายในกรุงปารีส ตามสองฟากถนนระหว่างทางราว 100,000 คน และกลายเป็นประเพณี ที่การแข่งขันทุกครั้งจะไปสิ้นสุดที่ประตูชัย จตุรัสเดอเลตวล ปารีส
ในปี ค.ศ. 1910 เริ่มมีการจัดเส้นทางแข่งขันเข้าไปในเขตเทือกเขาแอลป์ ปัจจุบันเส้นทางการแข่งขันจะผ่านทั้งเทือกเขาแอลป์ ทางตะวันออก และเทือกเขาพีเรนีสทางใต้ของฝรั่งเศส
การแข่งขันตูร์เดอฟรองซ์จะแบ่งเป็นช่วง (stage) เพื่อเก็บคะแนนสะสม ผู้ชนะในแต่ละช่วงจะได้รับเสื้อ (jersey) เพื่อสวมใส่ในวันต่อไป โดยมีสีเฉพาะสำหรับผู้ชนะในแต่ละประเภท คือ

Jersey yellow.svg
สีเหลือง (maillot jaune - yellow jersey) สำหรับผู้ที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุด
Jersey green.svg
สีเขียว (maillot vert - green jersey) สำหรับผู้ที่มีคะแนนรวมสูงที่สุด (the leader of the points classification)
Jersey polkadot.svg
สีขาวลายจุดสีแดง (maillot à pois rouges - polka dot jersey) สำหรับผู้ชนะในเขตภูเขา ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะว่า จ้าวภูเขา King of the Mountains
Jersey white.svg
สีขาว (maillot blanc - white jersey) สำหรับผู้ที่ทำเวลารวมได้น้อยที่สุดสำหรับผู้ที่อายุต่ำกว่า 26 ปี
Jersey worldtour.svg
สีรุ้ง (maillot arc-en-ciel - rainbow jersey) สำหรับผู้ชนะการแข่งขันจักรยานชิงแชมป์โลก (World Cycling Championship) ซึ่งมีกฏว่าจะต้องใส่เสื้อนี้เมื่อแข่งขันในประเภทเดียวกับที่ผู้แข่งนั้นเป็นแชมป์โลกอยู่
Jersey combined.svg
เสื้อแบบพิเศษ สำหรับผู้มีคะแนนรวมสูงสุด และชนะการแข่งขันช่วงย่อย และจ้าวภูเขา




"วิกกินส์" นักปั่นผู้ดีคนแรกคว้าแชมป์ตูร์ฯ

          
การแข่งขันจักรยานทางไกล รายการ "ตูร์ เดอ ฟรองซ์" ประจำปี ค.ศ. 2012 ที่ประเทศฝรั่งเศส ได้แชมป์ประจำปีนี้เป็นที่เรียบร้อย ได้แก่ แบรดลีย์ วิกกินส์ จากทีมสกาย ซึ่งทำเวลารวมหลังแข่งครบทุกสเตจดีที่สุด 87 ชั่วโมง 34 นาที 42 วินาที ส่งผลให้เขาสร้างประวัติศาสตร์เป็นนักปั่นจากสหราชอาณาจักรคนแรกที่ได้แชมป์ตูร์ เดอ ฟรองซ์ ด้านอันดับ 2 ได้แก่ คริส ฟรูม นักปั่นแดนผู้ดีจากทีมสกาย เวลาตามหลังแชมป์ 3 นาที 21 วินาที
ส่วนการชิงชัยในสเตจที่ 20 ซึ่งเป็นสเตจสุดท้าย ชิงชัยบนทางเรียบ เส้นทางจาก ร็อมบุยเยร์ ไปยัง ปารีส ช็องส์ - เชลีเซส์ ระยะทาง 120 กิโลเมตร เมื่อวันอาทิตย์ที่ 22 ก.ค. ที่ผ่านมา ผลปรากฏว่า มาร์ค คาเวนดิช อีกหนึ่งนักปั่นจากทีมสกาย ประกาศศักดาคว้าแชมป์สเตจนี้เป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน.

         ตูร์เดอฟรองซ์ เป็นการแข่งขันจักรยานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก เป็นการแข่งขันจักรยานทางไกลหนึ่งในสามรายการใหญ่ ที่จัดการแข่งขันในยุโรป รวมเรียกว่า แกรนด์ทัวร์ โดยอีกสองรายการคือ
การแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1903 เกิดขึ้นเนื่องจากการท้าทายกันทางหน้าหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสชื่อ โลโต้ (L'Auto) มีนักแข่งเข้าร่วมจำนวนถึง 60 คน แต่สามารถเข้าเส้นชัยได้เพียง 21 คน ซึ่งกิตติศัพท์ของความยากลำบากในการแข่งขัน ทำให้การแข่งขันนี้เป็นที่สนใจ และมีผู้ชมการแข่งขันช่วงสุดท้ายในกรุงปารีส ตามสองฟากถนนระหว่างทางราว 100,000 คน และกลายเป็นประเพณี ที่การแข่งขันทุกครั้งจะไปสิ้นสุดที่ประตูชัย จตุรัสเดอเลตวล ปารีส
ในปี ค.ศ. 1910 เริ่มมีการจัดเส้นทางแข่งขันเข้าไปในเขตเทือกเขาแอลป์ ปัจจุบันเส้นทางการแข่งขันจะผ่านทั้งเทือกเขาแอลป์ ทางตะวันออก และเทือกเขาพีเรนีสทางใต้ของฝรั่งเศส
การแข่งขันตูร์เดอฟรองซ์จะแบ่งเป็นช่วง (stage) เพื่อเก็บคะแนนสะสม ผู้ชนะในแต่ละช่วงจะได้รับเสื้อ (jersey) เพื่อสวมใส่ในวันต่อไป โดยมีสีเฉพาะสำหรับผู้ชนะในแต่ละประเภท 
                              

ฤดูกาลของประเทศฝรั่งเศส


ฝรั่งเศสเป็นประเทศหนาว ในปีหนึ่งแบ่งออกเป็น 4 ฤดู แต่ละฤดูจะกินเวลา 3 เดือน วันเดือนที่กำหนดว่าเป็นวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดของแต่ละฤดูนั้น จริง ๆ แล้วไม่ได้หมายความว่าอากาศจะต้องเปลี่ยนแปลงอย่างนั้นจริง ๆ วันเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิบางปีในบางท้องถิ่นอากาศจะหนาวมากกว่าฤดูหนาวในบางถิ่น ฤดูทั้ง 4 ของฝรั่งเศสมีดังนี้คือ

1. ฤดูใบไม้ผลิ ( le printemps ) ฤดูใบไม้ผลิเริ่มวันที่ 21 มีนาคม สิ้นสุดวันที่ 21 มิถุนายน ในฤดูนี้อากาศจะอบอุ่นขึ้น ต้นไม้ที่โกร๋นปราศจากใบมาตลอดเวลา 3 เดือน ในฤดูหนาวที่หนาวเย็นจะเริ่มผลิใบ การเปลี่ยนแปลงนี้รวดเร็วมาก ในเวลาไม่กี่วันหลังอากาศอบอุ่นต้นไม้จะผลิใบเขียวชอุ่ม ปลายเดือนมีนาคมและเดือนเมษายนอากาศจะไม่แน่นอน ในช่วงนี้จึงยังคงเก็บเสื้อโค้ตไม่ได้เพราะอากาศจะหนาวเมื่อไรก็ได้ บางทีอาจจะมีฝนตกบ้าง อากาศจะดีจริง ๆ ในเดือนพฤษภาคม ฤดูใบไม้ผลิเป็นฤดูที่สวยงาม ฟ้าจะเป็นสีฟ้าใส พระอาทิตย์ซึ่งไม่เคยปรากฏในฤดูหนาวเริ่มส่องแสง ฤดูนี้ได้ชื่อว่าเป็นฤดูแห่งดอกไม้แห่งงานฉลองแห่งความรัก ( la saison des fleurs, des fêtes, des amours ) มีงานฉลองมากมาย เช่น พิธีรับศีลจุ่ม พิธีแต่งงาน ฯลฯ สำหรับนักเรียนนักศึกษา เดือนอากาศดีนี้หมายถึงการสอบปลายปีด้วย          แม้ว่าฤดูใบไม้ผลิจะเป็นฤดูที่ทุกคนคิดว่าเป็นฤดูที่สวยงาม อากาศดี แต่ก็เป็นฤดูที่อากาศไม่แน่นอน อากาศจะเปลี่ยนแปลงอย่างไม่คาดหมาย imprévisible ก็ได้ แต่ฤดูใบไม้ผลิก็นับว่าเป็นฤดูที่ดีที่ สุดฤดูหนึ่งของปีเริ่มวันที่ 22 มิถุนายน สิ้นสุดวันที่ 22 กันยายน ฤดูร้อนเป็นฤดูที่กลางวันยาวมาก เมื่อกลางวันยาว กลางคืนก็สั้นประมาณ 6 – 7 ชั่วโมง กลางวันยาวในที่นี้ หมายความว่า พระอาทิตย์ตกดินช้า สามทุ่มหรือสี่ทุ่มยังไม่มืด เมื่อไม่มืดก็มีความรู้สึกว่ายังไม่ถึงกลางคืน ในประเทศสแกนดิเนเวียนนั้นในฤดูร้อน กว่าพระอาทิตย์ตกดินหรือจะมืดก็ประมาณห้าทุ่มหรือเที่ยงคืน กลางคืนจะยาวประมาณ 6 – 7 ชั่วโมง ฤดูร้อนในฝรั่งเศสอากาศร้อน ผู้คนจึงไปชายทะเล ฤดูร้อนเป็นฤดูแห่งวันหยุด ผู้คนเฝ้ารอฤดูนี้เพื่อจะได้ไปเที่ยวทะเล เพื่อจะได้อาบแดด เพื่อจะได้รับประทานผลไม้สด ๆ เช่น สตรอเบอรี่ แต่ในฤดูร้อนผลไม้ยังไม่อร่อย ต้องรอให้ผลไม้สุกเสียก่อน ฤดูร้อนบางปีอากาศอาจจะไม่ดีฝนตกบ่อย ๆ ฤดูร้อนที่อากาศไม่ดีเรียกว่า été pourri ความหมายก็บอกว่าไม่เพลิดเพลิน เป็น “ฤดูร้อนที่เน่าเสีย” คาดว่า “été canicule” หมายถึงช่วงต้นฤดูร้อนที่อากาศร้อนมาก บางเมืองอากาศจะร้อนมาก อุณหภูมิที่สูงสุดในฤดูร้อนในฝรั่งเศสประมาณ 30 องศาเซลเซียส ซึ่งร้อนมากสำหรับประเทศหนาว ทำให้คนอยากไป vacances โดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมืองใหญ่อย่างปารีส

2. ฤดูร้อน ( l’été )

          เริ่มวันที่ 22 มิถุนายน สิ้นสุดวันที่ 22 กันยายน ฤดูร้อนเป็นฤดูที่กลางวันยาวมาก เมื่อกลางวันยาว กลางคืนก็สั้นประมาณ 6 – 7 ชั่วโมง กลางวันยาวในที่นี้ หมายความว่า พระอาทิตย์ตกดินช้า สามทุ่มหรือสี่ทุ่มยังไม่มืด เมื่อไม่มืดก็มีความรู้สึกว่ายังไม่ถึงกลางคืน ในประเทศสแกนดิเนเวียนนั้นในฤดูร้อน กว่าพระอาทิตย์ตกดินหรือจะมืดก็ประมาณห้าทุ่มหรือเที่ยงคืน กลางคืนจะยาวประมาณ 6 – 7 ชั่วโมง ฤดูร้อนในฝรั่งเศสอากาศร้อน ผู้คนจึงไปชายทะเล ฤดูร้อนเป็นฤดูแห่งวันหยุด ผู้คนเฝ้ารอฤดูนี้เพื่อจะได้ไปเที่ยวทะเล เพื่อจะได้อาบแดด เพื่อจะได้รับประทานผลไม้สด ๆ เช่น สตรอเบอรี่ แต่ในฤดูร้อนผลไม้ยังไม่อร่อย ต้องรอให้ผลไม้สุกเสียก่อน ฤดูร้อนบางปีอากาศอาจจะไม่ดีฝนตกบ่อย ๆ ฤดูร้อนที่อากาศไม่ดีเรียกว่า été pourri ความหมายก็บอกว่าไม่เพลิดเพลิน เป็น “ฤดูร้อนที่เน่าเสีย” คาดว่า “été canicule” หมายถึงช่วงต้นฤดูร้อนที่อากาศร้อนมาก บางเมืองอากาศจะร้อนมาก อุณหภูมิที่สูงสุดในฤดูร้อนในฝรั่งเศสประมาณ 30 องศาเซลเซียส ซึ่งร้อนมากสำหรับประเทศหนาว ทำให้คนอยากไป vacances โดยเฉพาะคนที่อยู่ในเมืองใหญ่อย่างปารีส


3. ฤดูใบไม้ร่วง ( l’automne ) ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นวันที่ 23 กันยายน สิ้นสุดวันที่ 21 ธันวาคม อากาศที่สดใส แดดจ้าในฤดูร้อนเริ่มเปลี่ยน ท้องฟ้าสีเทา ลมแรง ใบไม้เริ่มเปลี่ยนจากสีเขียวมาเป็นสีเหลือง กลางวันสั้นมากขึ้น กลางคืนยาวขึ้น ใบไม้สีเหลือง แห้งและร่วง ฤดูใบไม้ร่วงก็เหมือนฤดูอื่น ๆ คือ อาจจะเป็นฤดูใบไม้ร่วงที่อากาศดี หรือฤดูใบไม้ร่วงที่อากาศไม่ดี คือ ฝนอาจจะตกบ่อย ตอนต้นฤดูอากาศมักจะดี ตอนปลายฤดู คือ เดือนพฤศจิกายนอากาศจะไม่ดี ท้องฟ้าเป็นสีเทาและมืดครึ้ม ตอนที่ใบไม้ร่วง ต้นไม้โกร๋นเป็นตอนที่เศร้า แต่ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่สวยฤดูหนึ่ง เพราะใบไม้ที่เปลี่ยนสีทำให้ฟ้าสวยงามหาที่เปรียบไม่ได้ ป่าไม้ในฤดูใบไม้ร่วง ( ตอนต้นและตอนกลางฤดู ) จะใช้คำขยายว่า coloré ซึ่งหมายถึงระบายด้วยสีประดับด้วยสี ( อันสวยงาม ) “ศิลปินมักจะให้ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่สวยที่สุด เนื่องจากสีใบไม้ที่เปลี่ยนสีแตกต่างกันมากมายหลายสี ซึ่งธรรมชาติเท่านั้นจะทำได้
       ทางใต้ของฝรั่งเศสอากาศจะไม่หนาว แต่มีลมแรง ( mistral ) ทางใต้จึงปลูกต้นไม้ที่สู้ลมได้ เช่น ต้นมะกอก ( olivier ) ต้นโอ๊ค ( chêne vert ) และต้นไม้ที่มีรากยาว ๆ เช่น องุ่น
     ฤดูใบไม้ร่วงเป็นฤดูที่ดีที่สุดของคนบางกลุ่ม คนฝรั่งเศสจำนวนหนึ่งที่ชอบล่าสัตว์จะถือปืนออกล่าสัตว์ ฤดูนี้เป็นช่วงที่คนในประเทศหนาวสามารถอยู่กลางแจ้งได้ก่อนที่ความหนาวจะคลืบคลานเข้ามาถึง
           4. ฤดูหนาว ( l’hiver ) เริ่มวันที่ 22 ธันวาคม สิ้นสุดวันที่ 20 มีนาคม ปลายฤดูใบไม้ร่วง กลางวันสั้นมากขึ้น ท้องฟ้ามืดครึ้ม ฤดูหนาวในประเทศหนาวหรือประเทศฝรั่งเศสคือ ความหนาว ฝนและหิมะ แต่ฤดูหนาวก็เหมือนฤดูอื่น ๆ คือ เป็นฤดูที่คนบางกลุ่มเฝ้ารอ นั่นคือผู้ที่ชอบกีฬาฤดูหนาวและผู้ทำธุรกิจเกี่ยวกับกีฬาฤดูหนาว เมืองที่อยู่บริเวณภูเขาและเป็นสถานีสกี ( Stations de ski ) จะคึกคักและมีชีวิตชีวา
       ฤดูหนาวเป็นฤดูแห่ง “sports d’hiver” ครอบครัวหรือโรงเรียนจะพาลูก ๆ และเด็ก ๆ ไปเล่นสกีบนภูเขาในช่วง vacances de neige ผู้เดินทางในการขับรถที่อยู่ในเขตภูเขาที่มีหิมะตกจะต้องมี pneus à clous หรือ roués avec chaine ซึ่งเป็นยางรถที่ใช้บนถนนที่ลื่นด้วย vergla ( ฝนปนหิมะ ) gel ( น้ำที่แข็งตัว ) และ dégel ( น้ำแข็งที่ละลายแล้ว ) นอกจากเจ้าของรถจะต้องเตรียมรถของตนให้พร้อมที่จะแล่นไปบนถนนที่อันตรายแล้ว ทางราชการก็เตรียม chasse – neiges ( รถกวาดหิมะ ) เพื่อเปิดทางหากหิมะตกมาก ๆ บนทางหลวงก็จะมีกระสอบทรายและกระสอบเกลือวางไว้ประจำ
ฤดูหนาวเป็นฤดูแห่งงานฉลอง จะเห็นว่ามีเทศกาลหลายเทศกาลในฤดูนี้ เช่น Fête de Saint – Nicolas, Noël, Nouvel An, Fête des Rois, Carnaval

นอกจากจะได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีอากาศปานกลาง ( le climat doux et tempéré ) ของยุโรปแล้ว อากาศในฝรั่งเศสยังแตกต่างกันตามลักษณะภูมิประเทศ และลักษณะที่เด่นคือ ความไม่แน่นอน อากาศแต่ละฤดูไม่เหมือนกัน และฤดูเดียวกันในแต่ละปีก็ไม่เหมือนกัน
ประชากรเมืองหัวหิน
เทศบาลเมืองหัวหิน มีจำนวนประชากร 55,415 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 31สิงหาคม 2553)
ประวัติ
ในอดีตหัวหินเป็นพื้นที่ขึ้นตรงกับแขวงปราณบุรี จังหวัดปราณบุรี (หลังจากได้ย้ายศาลากลางจังหวัดไปที่ตำบลเกาะหลัก จึงได้เปลี่ยนเป็นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์) บางช่วงสมัยแขวงเมืองปราณบุรีถูกยุบรวมกับเมืองเพชรบุรี หัวหินจึงถูกอยู่ในความดูแลของจังหวัดเพชรบุรี ภายหลังจึงได้มีการยกฐานะหัวหินขึ้นเป็นกิ่งอำเภอหัวหินขึ้นตรงกับอำเภอปราณบุรี และเป็นอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อพ.ศ. 2492 เทศบาลตำบลหัวหินจึงอยู่ในเขตพื้นที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
พ.ศ. 2480ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดูแลพื้นที่ตำบลหัวหิน และตำบลหนองแก กิ่งอำเภอหัวหิน อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นเทศบาลตำบลหัวหิน มีพื้นที่รับผิดชอบ 72 ตารางกิโลเมตร[1] ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลตำบลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2538 โดยขยายเขตเพิ่มเติมจากเดิม 72 ตารางกิโลเมตร เป็น 86.36 ตารางกิโลเมตร มาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งขยายพื้นที่ลงไปในทะเล 500 เมตรด้วย
ระยะแรกการจัดตั้งเทศบาลตำบลหัวหินมีราษฎรประมาณ 4,000 คน มีบ้านเรือนประมาณ 500 หลัง และมีรายได้ประมาณ 30,000-40,000 บาท และเมื่อ พ.ศ. 2492 กิ่งอำเภอหัวหินยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอหัวหิน และต่อมาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ได้มีการประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงฐานะจากเทศบาลตำบลหัวหินเป็นเทศบาลเมืองหัวหิน

วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Beaux-Arts architecture
Beaux-Arts architecturea[›] (English: /(ˌ)boʊˈzɑr/, French: [bozaʁ]) expresses the academic neoclassical architectural style taught at the École des Beaux-Arts in Paris. The style "Beaux Arts" is above all the cumulative product of two-and-a-half centuries of instruction under the authority, first, of the Académie royale d'architecture (1671–1793), then, following the French Revolution of the late 18th century, of the Architecture section of the Académie des Beaux-Arts (1795— ). The organization under the Ancien Régime of the competition for the Grand Prix de Rome in architecture, offering a chance to study in Rome, imprinted its codes and aesthetic on the course of instruction, which culminated during the Second Empire (1850–1870) and the Third Republic that followed. The style of instruction that produced Beaux-Arts architecture continued without major interruption until 1968.[1]
The Beaux-Arts style heavily influenced the architecture of the United States in the period from 1880 to 1920.[2] Non-French European architects of the period 1860–1914 tended to gravitate toward their own national academic centers rather than fixating on Paris. British architects of Imperial classicism, in a development culminating in Sir Edwin Lutyens's New Delhi government buildings, followed a somewhat more independent course, owing to the cultural politics of the late 19th century.

Contents

 [hide

 Training

The last major American building constructed in the Beaux-Arts style, the San Francisco War Memorial Opera House, completed 1932
The Beaux-Arts training emphasized the mainstream examples of Imperial Roman architecture between Augustus and the Severan emperors, Italian Renaissance, and French and Italian Baroque models especially, but the training could then be applied to a broader range of models: Quattrocento Florentine palace fronts or French late Gothic. American architects of the Beaux-Arts generation often returned to Greek models, which had a strong local history in the American Greek Revival of the early 19th century. For the first time, repertories of photographs supplemented meticulous scale drawings and on-site renderings of details.
Some aspects of Beaux-Arts approach could degenerate into mannerisms. Beaux-Arts training made great use of agrafes, clasps that links one architectural detail to another; to interpenetration of forms, a Baroque habit; to "speaking architecture" (architecture parlante) in which supposed appropriateness of symbolism could be taken to literal-minded extremes.
Beaux-Arts training emphasized the production of quick conceptual sketches, highly-finished perspective presentation drawings, close attention to the program, and knowledgeable detailing. Site considerations tended toward social and urbane contexts.[3]
All architects-in-training passed through the obligatory stages — studying antique models, constructing analos, analyses reproducing Greek or Roman models, "pocket" studies and other conventional steps — in the long competition for the few desirable places at the Académie de France à Rome (housed in the Villa Medici) with traditional requirements of sending at intervals the presentation drawings called envois de Rome.

Characteristics

Beaux-Arts building decoration presenting images of the Roman goddesses Pomona and Diana. Note the naturalism of the postures and the channeled rustication of the stonework.
Beaux-Arts architecture depended on sculptural decoration along conservative modern lines, employing French and Italian Baroque and Rococo formulas combined with an impressionistic finish and realism. In the façade shown to the right, Diana grasps the cornice she sits on in a natural action typical of Beaux-Arts integration of sculpture with architecture.
Slightly overscaled details, bold sculptural supporting consoles, rich deep cornices, swags and sculptural enrichments in the most bravura finish the client could afford gave employment to several generations of architectural modellers and carvers of Italian and Central European backgrounds. A sense of appropriate idiom at the craftsman level supported the design teams of the first truly modern architectural offices.
Though the Beaux-Arts style embodies an approach to a regenerated spirit within the grand traditions rather than a set of motifs, principal characteristics of Beaux-Arts architecture included:
Alternating male and female mascarons decorate keystones on the San Francisco City Hall
  • Flat roof[2]
  • Rusticated and raised first story[2]
  • Hierarchy of spaces, from "noble spaces"—grand entrances and staircases— to utilitarian ones
  • Arched windows[2]
  • Arched and pedimented doors[2]
  • Classical details:[2] references to a synthesis of historicist styles and a tendency to eclecticism; fluently in a number of "manners"
  • Symmetry[2]
  • Statuary,[2] sculpture (bas-relief panels, figural sculptures, sculptural groups), murals, mosaics, and other artwork, all coordinated in theme to assert the identity of the building
  • Classical architectural details:[2] balustrades, pilasters, garlands, cartouches, acroteria, with a prominent display of richly detailed clasps (agrafes), brackets and supporting consoles
  • Subtle polychromy

History



On the eve of World War I the Beaux-Arts style began to find major competitors among the architects of Modernism and the nascent International Style. The prestige of the École gave the style "Beaux-Arts" a second wind in combining the new manner with the traditional training.

 Beaux-Arts in France



Parisian buildings in the Beaux-Arts style

 Beaux-Arts in the United States

Grand Central Terminal (Station opened 1871, Terminal 1913), New York City
The first American architect to attend the École des Beaux-Arts was Richard Morris Hunt, followed by Henry Hobson Richardson. They were followed by an entire generation. Henry Hobson Richardson absorbed Beaux-Arts lessons in massing and spatial planning, then applied them to Romanesque architectural models that were not characteristic of the Beaux-Arts repertory. His Beaux-Arts training taught him to transcend slavish copying and recreate in the essential fully digested and idiomatic manner of his models. Richardson evolved a highly personal style (Richardsonian Romanesque) freed of historicism that was influential in early Modernism.[4]
The "White City" of the World's Columbian Exposition of 1893 in Chicago was a triumph of the movement and a major impetus for the short-lived City Beautiful movement in the United States. Beaux-Arts city planning, with its Baroque insistence on vistas punctuated by symmetry, eye-catching monuments, axial avenues, uniform cornice heights, a harmonious "ensemble," and a somewhat theatrical nobility and accessible charm, embraced ideals that the ensuing Modernist movement decried or just dismissed.[5] The first American university to institute a Beaux-Arts curriculum is the Massachusetts Institute of Technology (MIT) in 1893, when the French architect Constant-Désiré Despradelles was brought to MIT to teach. The Beaux-Arts curriculum was subsequently begun at Columbia University, the University of Pennsylvania, and elsewhere.[6] From 1916, the Beaux-Arts Institute of Design in New York City schooled architects, painters, and sculptors to work as active collaborators.
The Iowa, a Beaux-Arts condominium in Washington, D.C.
The best-known architectural firm specializing in Beaux-Arts style was McKim, Mead, and White.[7] Among universities designed in the Beaux-Arts style there are, the most notable ones are Columbia University, (commissioned in 1896), designed by McKim, Mead, and White; the University of California, Berkeley (commissioned in 1898), designed by John Galen Howard; the campus of MIT (commissioned in 1913), designed by William W. Bosworth, Carnegie Mellon University (commissioned in 1904), designed by Henry Hornbostel; and the University of Texas (commissioned in 1931), designed by Paul Philippe Cret.
Though Beaux-Arts architecture of the twentieth century might on its surface appear out of touch with the modern age, steel-frame construction and other modern innovations in engineering techniques and materials were often embraced, as in the 1914–1916 construction of the Carolands Chateau south of San Francisco (which was built with a consciousness of the devastating 1906 earthquake). The noted Spanish structural engineer Rafael Guastavino (1842–1908), famous for his vaultings, known as Guastavino tile work, designed vaults in dozens of Beaux-Arts buildings in the Boston, New York, and elsewhere. Beaux-Arts architecture also brought a civic face to the railroad. (Chicago's Union Station and Detroit's Michigan Central Station are famous American examples of this style.) Two of the best American examples of the Beaux-Arts tradition stand within a few blocks of each other: Grand Central Terminal and the New York Public Library.

 American architects working in the Beaux-Arts style

The following individuals, students of the Ecole Des Beaux-Arts, are identified as creating work characteristic of the Beaux-Arts style within the United States:

 

 Beaux-Arts in Canada

Beaux-Arts was very prominent in public buildings in Canada in the early 20th Century. Notably all three prairie provinces' legislative buildings are in this style.

 Canadian architecture in the Beaux-Arts style

The Great Hall of Toronto's Union Station

 Canadian architects working in the Beaux-Arts style

 Beaux-Arts in Australia

Port Authority building in Melbourne
Both Sydney and Melbourne have some significant examples of the style, where it was typically applied to large solid looking public office buildings and banks during the 1920s.

วันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

คำศัพท์
soif                       กระหาย
chaud                   หนาว
froid                     ร้อน
peur                      กลัว
hors de prix           แพง
la  gastronomie      ชื่อร้านอาหารกับเรือน
famme  aufoyer     ผู้หญิงที่อยู่

Antoine de Saint-Exupéry. Qui c'est?

Antoine de Saint-Exupéry
อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี

อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี (ฝรั่งเศส: Antoine de Saint-Exupéry) เป็นนักเขียนและนักบินชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 1900มีงานเขียนเป็นจำนวนมากในภาษาฝรั่งเศส ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเจ้าชายน้อย อ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรีหายสาบสูญขณะบินลาดตระเวนอยู่เหนือน่านฟ้าแอฟริกาเหนือเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1944
ในปี ค.ศ. 1998 ชาวประมงชื่อ ฌ็อง-โกลด บีย็องโก ชาวฝรั่งเศส ได้พบชิ้นส่วนที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นสร้อยข้อมือของแซ็งแตกซูว์เปรี ขณะจับปลาอยู่ทางตอนใต้ของเมืองมาร์แซย์ ในปี ค.ศ. 2000 นักประดาน้ำชื่อ ลุก ว็องแรล ได้พบซากของเครื่องบิน P-38 Lightning ซึ่งทางการฝรั่งเศสได้กู้ขึ้นมา และยืนยันว่าเป็นเครื่องบินลำที่แซ็งแตกซูว์เปรีเป็นนักบิน
ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2008 นักบินขับไล่ชาว เยอรมันชื่อ Horst Rippert วัย 88 ปี ได้ออกมายืนยันว่า เขาเป็นนักบินที่ทำการลาดตระเวนในบริเวณที่พบซากเครื่องของแซ็งแตกซูว์เปรี ในคืนวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1944 และเป็นผู้ยิงเครื่อง P-38 Lightning ตกในคืนนั้น เขากล่าวว่าเขาเป็นแฟนหนังสือของแซ็งแตกซูว์เปรี และทราบในภายหลังสงครามว่าอาจจะเป็นผู้ยิงเครื่องบินของแซ็งแตกซูว์เปรีตก
แผ่นดินของเรา (แซ็งแตกซูว์เปรี)

แผ่นดินของเรา (ฝรั่งเศส: Terre des Hommes) เป็นวรรณกรรมฝรั่งเศสร่วมสมัยเขียนโดยอ็องตวน เดอ แซ็งแตกซูว์เปรี นักเขียนชาวฝรั่งเศสผู้เขียนเรื่องเจ้าชายน้อย ใน แผ่นดินของเรา ผู้เขียนได้ให้ข้อคิดเกี่ยวกับปรัชญาชีวิต ผ่านทางเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้เขียนและเพื่อนร่วมงานประสบด้วยตนเอง ขณะปฏิบัติงานเป็นนักบินขนส่งไปรษณีย์ในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้ สำนักวรรณกรรมหลายสำนักทั่วโลกได้ยกให้แผ่นดินของเราเป็นผลงานที่ดีที่สุดของอังตวน เดอ แซง-เตกซูเปรี วรรณกรรมเรื่องแผ่นดินของเราฉบับภาษาฝรั่งเศสตีพิมพ์ครั้งแรกใน ค.ศ. 1939

ผลงาน

1929 - Courrier sud (ไปรษณีย์ใต้)

1931 - Vol de nuit (เที่ยวบินกลางคืน)

1939 - Terre des Hommes (แผ่นดินของเรา)

1942- Pilote de Guerre

1943 – Le Petit Prince (เจ้าชายน้อย)

1943 - Lettre à un Otage

1948 - Citadelle